วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2560

ชนิดของบัว

                               ชนิดของบัว
1.

  “บุณฑริก หรือ ปุณฑริก” ชื่อสามัญเรียก บัวแหลมขาว ทรงดอกแหลมสีขาวถึงขาวอมเขียว กลีบดอกไม่ซ้อน บัวชนิดนี้มีน้อยกว่าชนิดแรก ลักษณะดอกตูมรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมคล้ายพันธุ์ดอกสีชมพู ความกว้างของดอกจะน้อยกว่าความยาว ดอกที่สมบูรณ์จะมีขนาดกว้างประมาณ 5 – 8 เซ็นติเมตร  ยาวประมาณ 10 – 15 เซ็นติเมตร สีเขียวอ่อน เมื่อดอกบานกลีบดอกจะเปลี่ยนเป็นสีขาว มีเส้นที่กลีบดอกตามแนวยาวชัดเจน โคนของกลีบดอกมีสีเหลืองอ่อน กลีบดอกมีความยืดหยุ่นพอ สมควร มีกลีบดอก 4 – 5 ชั้น จำนวน 14 – 16 กลีบ ดอกมีกลิ่นหอมเย็น โคนกลีบดอกเป็นที่อยู่ของเกสรตัวผู้ก้านเกสรตัวผู้ยาวประมาณ 3 – 3.5 เซ็นติเมตร เกสรตัวเมียรวมกันเป็นฝักขนาดเล็ก ภายในมีเมล็ดบัว จำนวน 15 – 20 เมล็ด เมล็ดอ่อนจะมีลักษณะกลมยาว เมื่อเมล็ดแก่จะกลมมนขึ้น และผิวเมล็ดจะกลายเป็น สีดำหรือเกือบดำ เป็นที่น่าสังเกตว่าบัวชนิดนี้จะพบน้อย อาจเป็นเพราะมีเกสรตัวผู้น้อยและเกสร ตัวเมียน้อยกว่าบัวชนิดแรก ขึ้นได้ดีในระดับความลึกของน้ำประมาณ 15 – 60 เซ็นติเมตร

2.                       


     ” ปทุม “ เป็นบัวหลวงสีชมพู บางทีก็เรียก บัวแหลมแดง หรือแดงดอกลา กลีบดอกไม่ซ้อนดอกมีขนาดใหญ่ สีชมพูจนถึงแดง เป็นพันธุ์ที่ขึ้นแพร่หลายทั่วไป คนไทยจะคุ้นเคยกับบัวหลวงพันธุ์นี้มากที่สุด เพราะขึ้นในธรรมชาติทั่วไป ในภาษากวีมีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น ปทุม ปทุมมาลย์ ปัทมา โกกนุต มีทรงดอกตูมทรงสามเหลี่ยมปลายแหลมคล้ายรูปหัวใจหงายขึ้น เมื่อโตเต็มที่ขนาดดอกจะกว้างประมาณ 5 – 8 เซ็นติเมตร ยาวประมาณ 10 – 15 เซ็นติเมตร กลีบเลี้ยงมีสีเขียว ขอบกลีบมีสีชมพู มีเส้นกลีบดอกตามแนวยาวชัดเจน มีกลีบเลี้ยง จำนวน 3 กลีบอยู่โคนดอกติดกับก้านดอก กลีบดอกมีขนาดใหญ่อย่างเห็นได้ชัด มีลักษณะยืดหยุ่นสีชมพู โคนกลีบมีสีเหลืองขอบกลีบเป็นสีชมพูเข้มกว่าตัวกลีบดอก และเห็นเส้นกลีบดอกเรียงตามยาวชัดเจน กลีบดอกเรียงซ้อนกันประมาณ 4 – 5 ชั้น ชั้นในสุดติดกับเกสรตัวผู้ จำนวน 500 – 600 อัน เกสรตัวเมียถูกห่อหุ้มเป็นฝักขนาดเล็ก ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ ประมาณ 25 – 30 เมล็ด อาจจะเป็นเพราะมีเกสรตัวผู้ค่อนข้างมาก ทำให้มีการผสมเกสรทำได้ง่าย จึงทำให้มีการแพร่พันธุ์ของบัวชนิดนี้มากกว่าพันธุ์อื่น เวลาดอกบานจะมีกลิ่นหอมเย็น และกลิ่นค่อนข้างแรง สำหรับบัวหลวงสีชมพูพันธุ์ดอกเล็ก จะสังเกตจากดอกมีขนาดเล็กกว่าปกติ แต่มีลักษณะดอกและสีคล้ายกัน กล่าวกันว่าได้พันธุ์มาจากประเทศจีน บางคนจึงเรียกกันว่า บัวหลวงจีน บัวเข็มบัวปักกิ่ง บัวไต้หวัน
3.


สัตตบงกช ” บางทีเรียก บัวฉัตรแดง หรือ บัวป้อมแดง บัวหลวงสีชมพูดอกซ้อน มีชื่อละตินว่า Nelumbo nucifera  ชื่อสามัญว่า Roseum plenum ดอกทรงป้อมสีชมพูถึงแดง กลีบดอกซ้อนมากกว่าบัวปทุม ใกล้ฝักจะมีกลีบสีขาวปนชมพูอยู่หลายชั้น เวลาดอกบานแล้วจะเห็นกลีบเล็ก ๆ สีขาวปนชมพูซ้อนอยู่ข้างใน ส่วนกลีบนอก ๆ ก็มีลักษณะเหมือนบัวหลวงทั่วไป บัวหลวงพันธุ์นี้ไม่ค่อยมีเมล็ด




4. บัวผัน – บัวเผื่อน Nymphaea capensis Thunb. และ Nymphaea stllata Willclenow. ใบลอยอยู่บนผิวน้ำ ขอบใบจักถี่ ห่าง ไม่มีระเบียบ ดอกชูพ้นน้ำ บานกลางวัน พันธุ์พื้นเมืองมี 4 พันธุ์ คือ




5. บัวกระด้ง Victoria regia Lindl. หรือ N.amazonica Sowerby. มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้แถบลุ่มน้ำอะเมซอน ต้น-ใบ-ดอก ใหญ่มาก ใบใหญ่ยกขอบคล้ายกระด้ง มีหนามทั่วทั้งต้น มีพันธุ์เดียวที่ปลูกในประเทศไทย ดอกบานกลางคืน คืนแรกเป็นสีขาว คืนที่ 2 เป็นสีชมพู คืนที่ 3ดอกโรยเป็นสีม่วง





เทคโนโลยีสารสนเทศ

Thailand 4.0 คืออะไร
หลายท่านคงได้ยินกันบ่อยๆกับคำ
ว่า Thail
and 4.0 แล้ว Thailand 4.0 คืออะไร นโยบายนี้จะช่วยพัฒนาประเทศของเราได้อย่างไร มาทำความรู้จักกัน
Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม….ซึ่งกว่าจะมาเป็น Thailand 4.0 ก็ต้องผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 กันมาก่อน
Thailand 1.0 ก็คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลี้ยงหมู เป็ด ไก่ นำผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพThailand 2.0 ซึ่งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้เรามีเครื่องมือเข้ามาช่วย เราผลิตเสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากขึ้นThailand 3.0 (ซึ่งเป็นยุคปัจจุบัน ) เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่งออก
ในช่วงแรก Thailand 3.0 เติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงแค่ 3-4% ต่อปีเท่านั้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปานกลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการแข่งขันที่สูงขึ้น เราจึงต้องเปลี่ยนสู่ยุค Thailand 4.0 เพื่อให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง
ในปัจจุบันประเทศไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำมาก ได้น้อย” จึงต้องการปรับเปลี่ยนเป็น “ทำน้อย ได้มาก” ก็จะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม

อย่างการเกษตรก็ต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยีหรือ Smart Farming โดยเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการเปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูงเปลี่ยนจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่บริการที่มีมูลค่าสูงเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง
โมเดลของ Thailand 4.0 นั่นคือ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ซึ่งโมเดลนี้จะสำเร็จได้ ต้องใช้แนวทาง สานพลังประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ ประกอบกับการส่งเสริม SME และ Startup เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมต้องมีโครงสร้างด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมที่มีคุณภาพ มีอินเตอร์เน็ตที่คลอบคลุมประชากรมากที่สุด เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงทุกภาคส่วนได้อย่างไม่สะดุด
โครงสร้างของ ICT ก็จะเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ เราจะก้าวข้ามผ่านกับดักประเทศรายได้ปานกลางไปสู่รายได้สูง ในยุค Thailand 4.0 ได้ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้
องค์ประกอบสารสนเทศ
มี 5 องค์ประกอบกอบคือ
1. hardware. H/W คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.software S/W software
3.DATA ข้อมูล,ตัวเลข,ตัวอักษร,วีดีโอ,ภาพ
4.บุคลากร User, Technical, support
5.ขั้นตอนการทำงาน (flowchart)
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบประมวลผลทางธุรกิจ
ระบบการประมวลผล เป็นการประมวลผลแบบวันต่อวัน เช่น การรับ-จ่ายบิล
ระบบควบคุมสินค้าคงค้าง ระบบการรับ-จ่ายสินค้า เป็นต้น ใช้งานในระดับผู้ปฎิบัติการระบบนี้เป็นระบบสารสนเทศลำดับแรกที่ได้รับการพัฒนาให้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
     ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่ต้องการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้ประโยชน์มากกว่าการช่วยงานแบบวันต่อวัน ประกอบไปด้วยโปรแกรมต่างๆที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษเพื่อขยายขอบเขตความสามารถของธุรกิจ
      ระบบสนับสนุนตัดสินใจ
ระบบที่จัดเตรียมสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อช่วยในการตัดสินใจที่ไม่ได้คาดไว้ล่วงหน้า เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการรวบรวมบริษัทและการหายริการร่วมการขยายโรงงาน ผลิตภัณฑ์ใหม่
หน่วยการเรียนรู้ที่2: คอมพิวเตอร์เครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
1.การเรียกชื่อเครือข่ายและลักษณะการเชื่อมโยง
2.ประเภทของเครือข่ายต่างๆ
3.ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.องค์ประกอบกอบของการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย
   ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คือการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่2เครื่องมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยอาศัยสายเคเบิลเชื่อมระหว่างพอร์ดเครื่องพิมพ์ในการรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรืออุปกรณ์ต่างๆร่วมกัน
    Computer name
กฎเกณฑ์ทางการทำงานภายใต้พื้นฐานเดียวกัน
  ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย
1.ข้อมูลที่ส่งและรับจะต้องถูกต้องและไม่สูญหาย
2.สามารถจำแนกข้อมูลที่ถูกส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดได้
3.สามารถแยกแยะเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในระบบได้
4.มีมาตรฐานการตั้งชื่อและบ่งชี้ได้ชัดเจน
  องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย
ผู้ส่ง sender ➡ ผู้รับ Receiver
              ตัวกลางส่งข้อมูล
ผู้รับ ⬅ ผู้ส่ง
ทำไมต้องสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานร่วมกัน
2. ให้ข้อมูลได้จำนวนมากในเวลาเดียวกัน
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้หลากหลาย
4. เก็บข้อมูลที่สำคัญในศูนย์ข้อมูลส่วนกลาง
5. ลดความซับซ้อนของอุปกรณ์หรือใช้อุปกรณ์ร่วมกัน
6. มีความรวดเร็วในการสื่อสาร
ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. LAN
2. MAN
3. WAN
เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่
LAN (LOCAL Area Network)
1. เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้ในสำนักงานอาคารเรียน
2. การเชื่อมต่อใช้สายเคเบิล สายโคแอกซ์หรือสายใยแก้วช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและใช้อุปกรณ์ต่างๆร่วมกันได้
3. ใช้ในโรงเรียน มหาวิทยาลัย บริษัท ข้างต้น
เครือข่ายนครหลวง
MAN ( Metropolitan area Network)
1. เป็นเครือข่ายในเขตเดียวกัน
2. เป็นเครือข่ายขนาดกลางอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนของเมืองนั่นหรือเขตการปกครอง
3. ดังเช่น เครือข่ายของรัฐต่างๆในอเมริกา
      เครือข่ายบริเวณกว้าง
WAN (wide area network)
1. เป็นเครือข่ายระยะไกลคลอบคลุมทั้งประเทศหรือทั่วโลก
2. ตัวกลางในการสื่อสาร ดาวเทียม สายใยแก้วนำแสงหรือคลื่นไมโครเวฟ
3. เครือข่ายประเภทนี้คือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน
1. ฮาร์ดแวร์หรือเครือข่ายเชิงกายภาพหรืออุปกรณ์เครือข่ายได้แก่ สายนำสัญญาณแผงวงจรเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อื่นๆในการ รับ ➡ส่งข้อมูล
2. ซอฟต์แวร์ที่กำหนดกฎเกณฑ์ในการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณ์ให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฮาร์ดแวร์หรือเครือข่ายเชิงกายภาพแบ่งได้เป็น 4 แบบ
1. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ BUS  Topology
2. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Star Topology
3. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Ring Topology
4. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Tree Topology
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ BUS Topology


การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ BUS Topology 



การเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอร์แบบ star Topology








การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ Ring Topology









การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ Tee Topology

IP Address  คืออะไร
IP Address คือที่อยู่ Address ของอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายเปรียบเสมือนกับเลขที่บ้านของเครื่องคอมพิวเตอร์
คำถาม: ทำไมจึงไม่ใช้ MAC Address
จากที่ผ่านมาเราได้เรียนเกี่ยวกับ MAC Address หรือหมายเลข Nic Network interface card นั่นเองซึ่งตัว Nic แต่ละอันก็จะมีหลายเลขที่ไม่ซ้ำกัน
ตอบ: สาเหตุที่เราต้องมี IP Address อีกนั่นก็เพื่อเหตุผลต่างๆคือ
MAC Address แปลี่ยนแปลงไม่ได้แต่ IP Address สามารถเปลี่ยนแปลงเองได้ MAC Address ทำงานในระดับของ Hardware ส่วน IP Address ทำงานในระดับของSoftware ในการรับส่งข้อมูลเราต้องมีทั้ง Hardware และ Software. MAC Address ไม่สามารถจัดกลุ่มเพื่อแย่งการใช้งานได้
     หลักการแก้ปัญหา
1. การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นวิธีการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ให้รอบคอบก่อน ต้องเลือกวิธีการแก่ปัญหาให้เหมาะสมกับงานจัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ไม่เกิดความจำเป็น
   การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเหมาะสมกับระบบงานที่ต้องทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ซ่ำซาก
   ขั้นตอนกานแก้ปัญหาด้วยกระบวนการมางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การวิเคราะห์และกำหนดราละเอียดของปัญหา
2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี
3. การดำเนินการแก้ปัญหา
4. การตรวจสอบและปรับปรุง
    ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1. การวิเคราะห์ปัญหา
2. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้
2. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือในการออกแบบ คือ ผังงาน
3. การเขียนโปรแกรม
4. การทดสอบโปรแกรม
5. การทำเอกสารประกอบการใช้โปรแกรม
     การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี
เครื่องมือในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา
     ในการออกแบบขั้นตอนวิธีในการทำงานเพื่อแก้ปัญหาต่างๆหรือการเขียนโปรแกรมจำเป็นต้องใช้เครื่องมือบางอย่างช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์วิธีการเพื่อให้ง่ายต่อการมองภาพกระบวนการทำงานของระบบสามารถตรวจสอบที่ผิดพลาดรวมทั้งหาการปรับปรุงให้ดีกว่าเดิมได้เครื่องมือดังกล่าวที่ง่ายที่สุดได้แก่ ผังงาน(Flow chart) และรหัสจำลอง (Pesudo codc)
1. ผังงาน Flow chart เป็นเครื่องมือช่วยออกแบบและวิเคราะห์การทำงานโปรแกรมขั้นพื้นฐานที่สุดช่วยให้สามารถมองเห็นภาพของความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการต่างๆของระบบหรือโปรแกรมได้ง่ายทำให้นำไปเขียนเป็นโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
เรียนรู้การเขียนโปรแกรมภาษาซี
in chude studio. h
main ( )
into a = 6 ;
into b = 3 ;
if ( a < b ) 
Printt ( true n.,; 
else 
Print ( fals n ); 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีเบื่องต้น
-โครงสร้าง
- การเขียนคำอธิบาย
- การใช้ in เขียนบรรทัดใหม่
- โปรแกรมที่ใช้เรียน
" studio. h " ส่วนหัว
{ ปีกกา ฟังก์ชันหลัก ⬅( main) ()
การเขียนคำอธิบาย
/*______ข้อความ_____________*/
ในหนึ่งบรรทัดประโยคจะจบด้วย เซมิโคร่อน
\n ขึ้นบรรทัดใหม่